ฝ่ายบริการสารสนเทศ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้รวบรวมแนวคิดและทฤษฎีทางด้านการเกษตร ซึ่งประกอบเป็นเนื้อหาภายในหนังสือที่มีให้บริการในสำนักหอสมุด เพื่อการช่วยลดเวลาการสืบค้น ให้ผู้ใช้บริการได้รับสารสนเทศอย่างรวดเร็วและตรงต่อความต้องการ รวมถึงเป็นการสร้างความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสำนักหอสมุดด้วย
ที่ | ชื่อแนวคิด/ทฤษฎี | ดาวน์โหลดเอกสาร | สาระโดยสังเขป | รายการบรรณานุกรม |
1 | แนวคิดประเทศอุตสาหกรรมการเกษตร |
|
|
ศุภณิช จันทรสอง. (2559). การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น. เชียงใหม่ : ไอติ้งค์กราฟพิกแอนด์ดีไซน์. |
2 | แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง |
|
ทัศนีย์ (ไทยาภิรมย์) ลักขณาภิชนชัช. (2545). การสังคมสงเคราะห์ชุมชน มรรควิธีสู่ขุมชนเข้มแข็ง. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. | |
3 | แนวคิดเกี่ยวกับเกษตรยั่งยืนและเกษตรทางเลือก |
|
|
วิฑูรย์ ปัญญากุล. (2547). เกษตรยั่งยืน วิถีการเกษตรเพื่ออนาคต. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : มูลนิธิสายใยแผ่นดิน. |
4 | แนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่ |
|
วัลลภ พรหมทอง. (2559). เกษตรทฤษฎีใหม่ ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. | |
5 | แนวคิดเกี่ยวกับระบบเกษตรที่ยั่งยืน |
|
|
มัตติกา พนมธรนิจกุล. (2553). การจัดการดินและน้ำเพื่อระบบการเกษตรที่ยั่งยืน. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. |
6 | ทฤษฎีการพัฒนาและกระบวนการพัฒนา – ทฤษฎีสมัยใหม่ |
|
ชัชรี นฤทุม. (2551). การพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. | |
7 | แนวคิดพื้นฐานการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม | เป็นกระบวนการที่ทำให้ชุมชนเกิดความรัก และความรับผิดชอบต่อท้องถิ่นของตนเอง ร่วมกันคิดและร่วมกันแก้ไขปัญหา มีการประเมินผลการพัฒนาภายใต้หลักของประชาธิปไตย และสามารถช่วยเหลือตนเอง พึ่งพาตนเองได้ | ชัชรี นฤทุม. (2551). การพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. | |
8 | แนวคิดการจัดการคุณภาพผักอินทรีย์ |
|
สุพจน์ บุญแรง. (2552). คุณภาพและความปลอดภัยทางอาหาร. เชียงใหม่ : เชียงใหม่พิมพ์แสงศิลป์. | |
9 | แนวคิดเกี่ยวกับความปลอดภัยทางอาหาร |
|
สุพจน์ บุญแรง. (2552). คุณภาพและความปลอดภัยทางอาหาร. เชียงใหม่ : เชียงใหม่พิมพ์แสงศิลป์. | |
10 | ทฤษฎีกำลังดินของเมอร์และดูลอมบ์ |
|
สันชัย อินทพิชัย และ พาริช วุฒิพฤกษ์. (2547). ปฐพีกลศาสตร์. กรุงเทพฯ : สยามสปอร์ต ซินดิเคท จำกัด. | |
11 | ทฤษฎีการอัดตัวคายน้ำ – ทฤษฎีความสามารถในการรับน้ำหนักแบกทาน – ทฤษฎีการบดอัดดิน |
|
ชูศักดิ์ คีรีรัตน์. (2554). ปฐพีกลศาสตร์. กรุงเทพสฯ : ท๊อป. | |
12 | แนวคิดและทฤษฎีเกษตรธรรมชาติ – แนวคิดเกษตรธรรมชาติฟูกุโอกะ – แนวคิดเกษตรธรรมชาติเกาหลี – แนวคิดเกษตรธรรมชาติคิวเซ |
|
อานัฐ ตันโช. (2549). เกษตรธรรมชาติประยุกต์ แนวคิด หลักการ เทคนิคปฏิบัติในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ | |
13 | ทฤษฎีว่าด้วยการปักชำและการตอน |
|
จิรา ณ หนองคาย. (2551). หลักและเทคนิคการขยายพันธุ์พืชในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. | |
14 | ทฤษฎีว่าด้วยการติดตา ต่อกิ่ง ทาบกิ่ง |
|
จิรา ณ หนองคาย. (2551). หลักและเทคนิคการขยายพันธุ์พืชในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. | |
15 | แนวคิดต่อลักษณะการต้านทานโรคในแบบยีน ต่อ ยีน |
|
กฤษฏา สัมพันธารักษ์. (2546). ปรับปรุงพันธุ์พืช . กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. | |
16 | แนวคิดในการเริ่มต้นหาสัดส่วนธาตุอาหารพืชที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย | เป็นการทดลองเพื่อหาความเหมาะสมของธาตุอาหารกับชนิดพืช เช่นระยะเวลาการเจริญเติบโต สภาพแวดล้อมต่างๆ รวมไปถึง คุณภาพน้ำ วัสดุปลูก และชนิดปุ๋ย | ดิเรก ทองอร่าม. (2547). การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน หลักการจัดการการผลิตและเทคโนโลยีการผลิตเชิงธุรกิจในประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2).ราชบุรี : ธรรมรักษ์การพิมพ์. | |
17 | ทฤษฎีใหม่ แนวทางการจัดการน้ำ และที่ดิน | เป็นการจัดการพื้นที่ โดยแบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 ส่วน คือพื้นที่สำหรับปลูกข้าว พื้นที่ปลูกพืชไร่ และพื้นที่เก็บน้ำ ช่วยให้เกษตรกรมีอยู่มีกินตามอัตภาพ สามารถพึ่งพาตนเองได้ | เกษตรกรก้าวหน้า. (2560). ต้นแบบเกษตรกรรม “อยู่ดี กินดี” ด้วยเกษตรทฤษฎีใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : แม่บ้าน. | |
18 | แนวคิดในการเตรียมสารละลายธาตุอาหารพืชแบบเข้มข้น |
|
ดิเรก ทองอร่าม. (2547). การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน หลักการจัดการการผลิตและเทคโนโลยีการผลิตเชิงธุรกิจในประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2).ราชบุรี : ธรรมรักษ์การพิมพ์. | |
19 | แนวคิดในการพยากรณ์ผลที่เกิดในสารละลายธาตุอาหารพืชจากการตรวจสอบค่า EC – pH |
|
ดิเรก ทองอร่าม. (2547). การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน หลักการจัดการการผลิตและเทคโนโลยีการผลิตเชิงธุรกิจในประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2).ราชบุรี : ธรรมรักษ์การพิมพ์. | |
20 | แนวคิดการผลิตพืชโดยไม่ใช้ดินในประเทศไทย |
|
ดิเรก ทองอร่าม. (2547). การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน หลักการจัดการการผลิตและเทคโนโลยีการผลิตเชิงธุรกิจในประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2).ราชบุรี : ธรรมรักษ์การพิมพ์. | |
21 | แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบของการประกอบธุรกิจการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินในประเทศไทย | การผลิตพืช, การจำหน่ายวัสดุอุปกรณ์, การจำหน่ายชุดปลูก, กิจการร้านอาหาร, การจำหน่ายต้นกล้า, การรับจ้างดูแล บำรุงรักษา, ศูนย์รวมบริการ, การท่องเที่ยวเชิงเกษตร | ดิเรก ทองอร่าม. (2547). การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน หลักการจัดการการผลิตและเทคโนโลยีการผลิตเชิงธุรกิจในประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2).ราชบุรี : ธรรมรักษ์การพิมพ์. | |
22 | ทฤษฎีการบด | เป็นการลดขนาดของวัตถุดิบอาหารสัตว์ชนิดแข็ง ให้มีขนาดเล็กลงด้วยแรงบีบอัด แรงตี และแรงเฉือน | ณัฐชนก อมรเทวภัทร. (2553). การผลิตอาหารสัตว์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. | |
23 | ทฤษฎีการควบคุมไฟป่า |
การป้องกันไฟป่า, การเตรียมการดับไฟป่า, การตรวจหาไฟป่า, การดับไฟป่า, การประเมินผลการปฏิบัติงาน, ผลกระทบของไฟป่าต่อสิ่งแวดล้อม |
เกรียงศักดิ์ ศรีเงินยวง. (2553). ป่าและการป่าไม้. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้. | |
24 | ทฤษฎีการออกดอกและการบังคับการออกดอกของไม้ผล |
|
อัตถ์ อัจฉริยมนตรี. (2553). หลักการไม้ผล. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. | |
25 | ทฤษฎีการเซนตริฟิวจ์ (centrifuge) |
|
บุญธรรม นิธิอุทัย. เทคโนโลยีน้ำยางข้น. ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, [ม.ป.ป.] | |
26 | ทฤษฎีการปรับปรุงพันธุ์ |
|
สุชีลา เตชะวงค์เสถียร. (2557). พริก : นวัตกรรม จากทฤษฎีการปรับปรุงพันธุ์พืชสู่การใช้ประโยชน์. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | |
27 | แนวคิดในเรื่องระบบนิเวศ |
|
นิวัติ เรืองพานิช. (2558). วิทยาศาสตร์ทุ่งหญ้า. กรุงเทพฯ : กองทุนจัดพิมพ์ตำราป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. | |
28 | แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม |
|
สิทธิเดช พงค์กิจวรสิน และ เขมรัฐ เถลิงศรี. (2558). ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กับการสูญเสียพื้นที่ป่า ปัญหาและทางออก. กรุงเทพฯ : สถาบันคลังสมองของชาติ. | |
29 | แนวคิดการจัดทำยุทธศาสตร์รายพืช |
|
เกรียงศักดิ์ สุวรรณธราดล และคณะ. (2559). ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเหลือง ถั่วเขียว และถั่วลิสง : ทิศทางพืชเศรษฐกิจไทยในอาเซียน. กรุงเทพฯ : พรทรัพย์การพิมพ์. | |
30 | แนวคิดทางด้านนิเวศวิทยา |
|
คณะกรรมการการจัดพิมพ์ตำราการจัดการศัตรูพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2543). การจัดการศัตรูพืช. กรุงเทพฯ : รั้วเขียว. | |
31 | เกษตรทฤษฎีใหม่ | เป็นการจัดการพื้นที่ขนาดเล็กให้เกิดประสิทธิภาพอย่างสูงสุด ให้สามารถช่วยเหลือ พึ่งพาตนเองได้ โดยแบ่งพื้นที่เป็นการจัดเก็บน้ำ การเพาะปลูก และพื้นที่อยู่อาศัย | พัชรี สำโรงเย็น. (2560). เกษตรตามรอยพ่อ พออยู่ พอกิน พอเพียง. กรุงเทพฯ : นาคา อินเตอร์มีเดีย. | |
32 | ทฤษฎีทางพันธุศาสตร์ |
|
จีรชัย กาญจนพฤฒิพงศ์. (2549). การจัดการฝูงโคนม. กรงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. | |
33 | แนวคิดด้านการพัฒนาของเกษตรกรชาวนา |
|
ภคพนธ์ ศาลาทอง. (2562). เรื่องเล่าจากรวงข้าว : วิถีชีวิต วิถีการทำนา สู่การพัฒนาการพึ่งตนเอง. กรุงเทพฯ : โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์. | |
34 | แนวคิดด้านการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรชาวนา |
|
ภคพนธ์ ศาลาทอง. (2562). เรื่องเล่าจากรวงข้าว : วิถีชีวิต วิถีการทำนา สู่การพัฒนาการพึ่งตนเอง. กรุงเทพฯ : โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์. | |
35 | แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ |
|
ภคพนธ์ ศาลาทอง. (2562). เรื่องเล่าจากรวงข้าว : วิถีชีวิต วิถีการทำนา สู่การพัฒนาการพึ่งตนเอง. กรุงเทพฯ : โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์. | |
36 | แนวคิดความยั่งยืนและเกษตรกรรมที่ยั่งยืน |
|
เขมรัฐ เถลิงศรี และ สิทธิเดช พงศ์กิจวรสิน. (2560). ธุรกิจการเกษตรบนพื้นที่สูงกับความยั่งยืน บทเรียนและข้อเสนอในการพัฒนา. กรุงเทพฯ : พีพูเอสเมคเกอร์ จำกัด. | |
37 | การทำงานของยีนและแนวคิดในการปรับปรุงพันธ์ |
ลักษณะของพืชแต่ละชนิด จะถูกควบคุมโดยยีน ที่มีปฏิสัมพันธ์กันอย่างซับซ้อน นักปรับปรุงพันธุ์จะต้องเข้าใจระบบการทำงานของยีนประเภทต่างๆ และเลือกใช้ยีนให้เหมาะสมกับธรรมชาติของพืชแต่ละชนิด เพื่อใช้ในการปรับปรุงและคัดเลือกสายพันธุ์พืช |
กฤษฏา สัมพันธารักษ์. (2546). ปรับปรุงพันธุ์พืช พื้นฐาน วิธีการ และแนวคิด. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. | |
38 | แนวคิดที่จะเลือกชนิดพืชที่จะปลูกกับการเลือกระบบปลูก | เป็นการเลือกชุดปลูก อุปกรณ์ให้เข้ากับชนิดพืชแต่ละชนิด โดยดูจากลักษณะของพืช เช่น รูปทรงใบ ขนาดลำต้น และอายุพืช เพื่อเลือกอุปกรณ์ ชุดปลูกให้เหมาะสมกัน | ดิเรก ทองอร่าม. (2547). การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน หลักการจัดการการผลิตและเทคโนโลยีการผลิตเชิงธุรกิจในประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2).ราชบุรี : ธรรมรักษ์การพิมพ์. | |
39 | แนวคิดในการวิเคราะห์เพื่อการตัดสินใจในการปลูกโดยไม่ใช้ดิน | เป็นการผลิตพืชเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด เป็นการปลูกพืชที่อยู่ภายใต้เงื่อนไขที่สามารถควบคุมได้ โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาควบคุมดูแล มีการศึกษาถึงความต้องการของตลาดควบคู่กับการผลิต | ดิเรก ทองอร่าม. (2547). การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน หลักการจัดการการผลิตและเทคโนโลยีการผลิตเชิงธุรกิจในประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2).ราชบุรี : ธรรมรักษ์การพิมพ์. | |
40 | แนวคิดเบื้องต้นในการวิเคราะห์รายรับและรายจ่ายเพื่อประกอบการตัดสินใจทำการผลิต | การประเมินยอดขาย, การวางแผนการผลิต, การวางแผนด้านการเงิน, การผลิตพืชตามความต้องการของตลาด | ดิเรก ทองอร่าม. (2547). การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน หลักการจัดการการผลิตและเทคโนโลยีการผลิตเชิงธุรกิจในประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2).ราชบุรี : ธรรมรักษ์การพิมพ์. | |
41 | แนวคิดในการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการเงินเพื่อการลงทุน | การเลือกโครงการที่มีผลตอบแทน และสามารถคืนทุนได้อย่างรวดเร็ว | ดิเรก ทองอร่าม. (2547). การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน หลักการจัดการการผลิตและเทคโนโลยีการผลิตเชิงธุรกิจในประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2).ราชบุรี : ธรรมรักษ์การพิมพ์. | |
42 | ทฤษฎีการผสม | เป็นการผสมอนุภาควัตถุดิบอาหารสัตว์ ให้กระจายตัวอย่างเท่ากัน ตลอดและสม่ำเสมอในอาหารสัตว์ โดยอาศัยปัจจัยดังนี้คือ ขนาด รูปร่างของอนุภาควัตถุดิบ มุมกองของวัตถุดิบ วิถีโคจรของวัตถุ การแทรกของอนุภาค และความหนาแน่นของวัตถุดิบ | ณัฐชนก อมรเทวภัทร. (2553). การผลิตอาหารสัตว์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. | |
43 | ทฤษฎีของมัลทัสและความเกี่ยวข้องกับการเกษตรกรรม | เป็นการให้ความสนใจกับปัญหาการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรโลกอย่างรวดเร็ว แต่ไม่สอดคล้องกับการผลิตอาหารโลกที่ไม่เพียงพอ ทำให้เกิดปัญหาการขาดแคลนอาหาร และความอดอยาก | ชาญณรงค์ ดวงสอาด. (2549). การจัดการแมลงศัตรูพืช. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. | |
44 | แนวความคิด นิยาม และวัตถุประสงค์ของการจัดการแมลงศัตรูพืช | ในอดีตการกำจัดแมลงอาศัยยาฆ่าแมลง และสารเคมีทำให้ส่งผลกระทบต่อส่งแวดล้อม แมลงมีการพัฒนาความต้านทานต่อยาฆ่าแมลง ทำให้การกำจัดแมลงมีความยุ่งยากซับซ้อน แต่ปัจจุบันมีการพัฒนาใช้รูปแบบการกำจัดหลายรูปแบบ เพื่อลดปัญหาที่จะกระทบถึงสิ่งแวดล้อม สามารถใช้งานได้จริง เป็นที่ยอมรับในสังคม | ชาญณรงค์ ดวงสอาด. (2549). การจัดการแมลงศัตรูพืช. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. |
หมายเหตุ: ใช้รูปแบบการอ้างอิงแบบ APA Style 6th ed.
หากพบปัญหาหรือต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่ :
เคาน์เตอร์ One Stop Service ชั้น 1
โทร 053-873510
Facebook MJU Library